วันอังคารที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 10

บันทึกอนุทิน 
   วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood
          อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
          วันอังคาร ที่  21 ตุลาคม  2557
  ครั้งที่ 10 เวลาเรียน 08.30-12.20
      เวลาเข้าสอน08.30น.เวลาเรียน08.35น.เวลาเลิกเรียน12.25น.
Knowledge:
กิจกรรมที่1.นำเสนอสื่อ
       วันนี้อาจารย์ให้เพื่อนๆที่ยังไม่ได้นำเสนอสื่อวิทยาศาสตร์เมื่ออาทิตย์ที่แล้ว ออกมานำเสนอหน้า
ชั้นเรียน

กิจกรรมที่ 2.การเขียนแผน

แผนการสอนทั้ง 5 วัน ต่อ 1 สัปดาห์ จะทำให้เด็กได้แสดงความคิดและจินตนาการในด้านๆต่าง เช่น ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์-จิตใจ ด้านสังคมและด้านสติปัญญา  เพราะกิจกรรมต่างๆจะช่วยส่งเสริม
พัฒนาการเด็กให้เกิดสิ่งเรียนรู้รอบตัว

Applications:ความรู้ที่ได้รับในวันนี้สามารถนำไปปรับประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดสื่อที่หลากหลาย เหมาะแกที่เด็กจะได้เกิดการเรียนรู้

Evaluation:
ประเมินตนเอง:มีความพร้อมในการเรียน ตั้งใจฟังอาจารย์ให้ความรู้เพื่อที่จะนำไปพัฒนาตนเอง และวันนี้แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา
ประเมินเพื่อน:วันนี้เพื่อนๆมีความพร้อมในการนำเสนอ และร่วมตอบคำถามกับอาจารย์และมีส่วนร่วมให้การทำงานเป็นกลุ่ม
ประเมินอาจารย์:มีความพร้อมให้การสอน และให้ความรู้นักศึกษาเพื่อที่จะได้นำไปปรับปรุงแก้ไข




แผนการสอน หน่วย"ทุเรียน"

วันอาทิตย์ที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 9

บันทึกอนุทิน 
   วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood
          อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
          วันอังคาร ที่  14 ตุลาคม  2557
  ครั้งที่ 9 เวลาเรียน 08.30-12.20
      เวลาเข้าสอน08.30น.เวลาเรียน08.40น.เวลาเลิกเรียน12.00น.
Knowledge:
Activities in class>>
กิจกรรม ชื่อสื่อ ไหมพรมเต้นระบำ
Equipment:
Steps:
1.ใช้กรรไกรตัดหลอดออกเป็น 2 ท่อน

                                  2.ด้านที่มีปลายช้อน                                3.ด้านที่ไม่มีปลายช้อน ใช้กรรไกร                                                                                              ตัดหลอดพลาสติกให้เป็นรูรูปวงรี ห่างจากปลายด้าน
                                                                        หนึ่ง ประมาณ 2-3 เซนติเมตร แล้วเจาะรูพอประมาณ

4.ต่อปลายช้อนเข้ากับรูบนหลอด

5.นำเทปกาวยึดหลอดทั้งสองเข้าด้วยกัน

...จะเป็นลักษณะนี้...

6.นำไหมพรมมาสอดเข้าไปในหลอด ดังภาพค่ะ

7.เมื่อสอดได้แล้ว ผูกเชือกทั้งสองเข้าด้วยกัน โดยทำให้เป็นปมเชือกมีขนาดเล็กที่สุด
เพราะถ้าปมเชือกมีขนาดใหญ่เกินไป เวลาเป่าปมเชือกจะมาติดที่หลอด
ส่งผลให้ไหมพรมไม่เคลื่อนไหว

เสร็จเรียบร้อย"ไหมพรมเต้นระบำ"



What was:




การเคลื่อนที่ของลม จากหลอดที่ใช้เป่าทำมุมเอียงกับหลอดตรง ทำให้เกิดการเคลื่อนที่ของอาการ ทำให้ลมที่เป่า
เคลื่อนที่ผ่านหลอดตรงอย่างรวดเร็ว
และอากาศที่เคลื่อนที่ เรียกว่า ลม จึงมีแรงดันทำให้
ไหมพรมลอย

ผลงานต่างๆของเพื่อนๆ


Applications:เป็นกิจกรรมที่สามารถประดิษฐ์ได้ด้วยตัวเอง ทำง่ายไม่ซับซ้อน และเด็กสามารถเล่นหรือทดลองด้วยตนเองได้ และได้ฝึกการสังเกต ทิศทางลม และอาการ ที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่

Evaluation:
ประเมินตนเอง:มีความพร้อมในการเรียน และวันนี้ได้เตรียม"สื่อ"มาทดลองหน้าชั้นเรียนให้อาจารย์และเพื่อนๆได้ดูและแต่งกายเรียบร้อยเข้าเรียน ช้านิดหน่อยเพราะไปรอยกของให้อาจารย์
ประเมินเพื่อน:เพื่อนๆส่วนใหญ่ได้ออกนำเสนอสื่อต่างๆที่แตกต่างกันไป และร่วมตอบคำถามรวมกันและอาจารย์
ประเมินอาจารย์:มีเทคนิคการสอน และใช้คำถามเพื่อให้นักศึกษาได้คิดและแสดงความคิดเห็นร่วมกันในสื่อต่างๆ




วันจันทร์ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 8

บันทึกอนุทิน 
   วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood
          อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
          วันอังคาร ที่  7 ตุลาคม  2557
  ครั้งที่ 8 เวลาเรียน 08.30-12.20
      เวลาเข้าสอน-.เวลาเรียน-.เวลาเลิกเรียน-.
ช่วงสอบกลางภาค(Mid Term)ไม่มีการเรียนการสอน




วันเสาร์ที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 7

บันทึกอนุทิน 
   วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood
          อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
          วันอังคาร ที่  30 กันยายน  2557
  ครั้งที่ 7 เวลาเรียน 08.30-12.20
      เวลาเข้าสอน 08.30น.เวลาเรียน 08.35 น.เวลาเลิกเรียน 12.00 น.
Knowledge:
Activities in class>>
1.กังหันกระดาษลอยลม
Equipment:                                                           
  
Steps:
                             1.ตัดกระดาษพอประมาณ                               2.พับกระดาษเข้าหากัน

                               3.ตัดกระดาษครึ่งหนึ่ง               4.พับกระดาษอีกด้านให้ได้หนึ่งส่วนสี่ของกระดาษ

5.นำกิ๊ฟมาติดตรงกลาง
ภาพทดลอง(Trials):



What was:






 ช่วยให้เด็กมองเห็นวัตถุที่หมุนลอยอยู่บนอากาศและตกลงตามแรงโน้มถ่วงของโลก

2.เชือกมหัศจรรย์
Equipment: 
Steps:
                                 1.แกนกระดาษทิชชู่                                               2.ตัดครึ่ง

      
3.เจาะรูทั้งสองข้างให้เท่ากัน

                         4.ตัดเชือกให้อยู่ระหว่างหน้าท้อง                     5.นำเชือกมาร้อยรูทั้งสองช้าง

                          6.ตัดกระดาษให้เป็นวงกลม                             7.นำมาติดตกแต่งสวยงาม

ภาพทดลอง(Trials)
           
What was:






การเสียดสีของเชือกกับวัตถุจะทำให้วัตถุเคลื่อนที่
เหมือนถ่ายทอดพลังงาน เกิดการทำมุมแรงส่ง


3.กิจกรรมนำเสนอบทความ
     1.สะกิดให้ลูกคิดแบบวิทยาศาสตร์:อ่านเพิ่มเติม
     2.สนุกสนานเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย เรื่องไก่และเป็ด:อ่านเพิ่มเติม
     3.เทคนิคการสอนวิทยาศาสตร์:อ่านเพิ่มเติม
     4.วิทยาศาสตร์ปฐมวัยจำเป็นหรือไม่:อ่านเพิ่มเติม
     5.ส่งเสริมกระบวนคิดสำหรับเด็ก:อ่านเพิ่มเติม

Applications:
การทำสื่อในวันนี้ กังหันกระดาษลอยลมและเชือกมหัศจรรย์ เป็นสื่อที่ทำง่ายโดยเราสามารถทำขึ้นเองและทำการทดลองจากสื่อที่ทำ เพื่อให้เด็กได้เกิดการสังเกต ทดลองและเกิดการเรียนรู้
Evaluation:
ประเมินตนเอง:มีความพร้อมในการเรียน แต่งกายเรียบร้อยประดิษฐ์ ร่วมทำกิจกรรมกับอาจารย์ เพื่อนๆ
ประเมินเพื่อน:ร่วมกันทำกิจกรรมในชั้นเรียน การลงมือทำปฏิบัติ แสดงความคิดเห็น
ประเมินอาจารย์:มีการเทคนิคการสอนและกิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อที่ให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติและเกิดความเข้าใจ


  
อากาศมหัศจรรย์(Weather)

         ลมคืออากาศที่เคลื่อนที่ได้ มนุษย์ สัตย์หรือพืชก็ต้องใช้อากาศหายใจ อากาศนั้นสามารถอยู่ได้ทุกที่ เช่นนำถ้วยแก้วมาหนึ่งใบเอากระดาษติดลงไปในถ้วยแก้วจนแน่ใจว่าถ้าเราคล่ำถ้วยกระดาษจะไม่หล่นลงมา แล้วยกถ้วยแก้วออกก็จะเห็นว่ากระดาษไม่เปียกน้ำเลย ก็เพราะระหว่างกระดาษกับน้ำนั้นจะต้องมีอะไรมากั้นตรงกลาง นั้นก็คืออากาศอากาศไม่มีขนาดหรือรูปร่างแต่อากาศจะซ่อนตัวอยู่ทุกที่
แรงดันของอากาศ คือ แรงที่อากาศกดลงพื้นผิวของวัตถุต่างๆ
การใช้อากาศในการยกหนังสือ นำลูกโป่งใบใหญ่สอดไว้ที่ใต้หนังสือที่เราจะยก จากนั้นก็เป่าลูกโป่ง ก็จะเห็นหนังสือค่อยๆถูกยกขึ้น การที่ลูกโป่งยกหนังสือได้ก็เพราะใช้หลักการแรงดันอากาศ เมื่อเราเป่าลมเข้าไปในลูกโป่ง ก็จะทำให้อากาศในลูกโป่งเพิ่มจำนวนขึ้น อากาศจึงทำให้ผิวลูกโป่งขยายใหญ่ขึ้น แรงดันจึงทำให้หนังสือลอยขึ้นมา
การนำแรงดันอากาศมาใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น การเจาะรูกระป๋องนมจะต้องเจาะยังไงถึงจะมีนมไหลออกมา
นำน้ำที่ผนึกไว้สนิทสองใบ ใช้หลอดเจาะใบละหนึ่งรูก่อน แล้วเทน้ำใส่แก้ว น้ำไม่ไหลสักแก้วที่นี้ลองเจาะแก้งแรกอีกรูติดๆกัน แล้วเทน้ำอีกรอบน้ำก็ไม่ไหล ลองเจาะรูอีกแก้วที่ฝั่งตรงข้ามรูแรกแล้วลองเท น้ำก็จะไหลออกมา แต่ถ้าเราปิดรูด้านบ่นไว้น้ำก็จะหยุดไหล ที่เป็นแบบนนี้ก็เพราะเจาะรูไว้คนละที่ แก้วแรกเจาะรูติดกัน เมื่อเทน้ำไม่ออกก็เพราะอากาศภายนอกจะคอยดันน้ำไว้ของรูทั้งสองไม่ให้ไหลออกมาได้ อีกแก้วที่เจาะรูที่ฝั่งตรงข้ามแล้วไปดันน้ำในแก้วอีกที อากาศภายนอกจึงดันไว้ไม่อยู่น้ำเลยไหลออกมาได้ แต่พอเราปิดรูด้านบ่นไว้อากาศก็ไม่สามารถดันน้ำให้ไหลออกมาได้ น้ำจึงหยุดไหล
อากาศร้อนหรือเย็นมีแรงดันอากาศมากกว่ากัน
นอกจากอากาศที่ร้อนจะมีแรงดันน้อยกว่าอากาศเย็น อากาศที่เคลื่อนที่ก็จะมีแรงดันน้อยกว่าอากาศที่อยู่นิ่งๆ เช่นมีลูกโป่งแขวนอยู่สองใบอยู่ห่างกันพอประมาณ ลองเป่าลมเข้าไปตรงกลาง ลูกโป่งก็จะเคลื่อนที่เข้ามากัน ก็เพราะการเคลื่อนที่ของอากาศผ่านระหว่างลูกโป่งทั้งสองลูก ในขณะที่เราเป่าลูกโป่งนั้นอากาศจะมีการเคลื่อนที่ไปข้างหน้า และอากาศที่เคลื่อนที่นั้นจะมีแรงดันอากาศลดลง  ทำให้อากาศด้านข้างของลูกโป่งทั้งสองลูกที่อยู่นิ่งๆมีแรงดันมากกว่า จึงดันลูกโป่งให้เข้ามาชิดกัน
แรงต้านอากาศ คือ แรงที่อากาศต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุต่างๆ
เช่นเวลารถวิ่งก็จะมีลมพัดส่วนมา ก็คือลมที่อากาศกำลังต้านสวนมาไม่ให้รถวิ่งไปข้างหน้า