บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood
Science Experiences Management for Early Childhood
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันอังคาร ที่ 26 สิงหาคม 2557
ครั้งที่ 2 เวลาเรียน 08.30-12.20
เวลาเข้าสอน 08.30 น.เวลาเรียน 08.25 น.เวลาเลิกเรียน 12.20 น.
ครั้งที่ 2 เวลาเรียน 08.30-12.20
เวลาเข้าสอน 08.30 น.เวลาเรียน 08.25 น.เวลาเลิกเรียน 12.20 น.
Knowledge:
วันนี้อาจารย์สอนเกี่ยวกับ เด็กปฐมวัย เรานึกถึงอะไรที่เกี่ยวกับเด็กปฐมวัย
-ศึกษารายวิชา
-สิ่งที่กำลังเรียนรู้
โดยมีรูปเด็กๆทำกิจกรรมต่างๆ แล้วเด็กได้อะไรจากวิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ประสาทสัมผัส :
การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
การพัฒนาประสาทสัมผัสทั้ง 5
การแสดงละครสร้างสรรค์เป็นการแดสงที่ต้องเน้นการเคลื่อนไหวร่างกาย โดยการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 เพื่อสื่อความหมายให้ผู้อื่นได้รับรู้ ดังนี้ การฝึกปฏิบัติในการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ให้เกิดความชำนาญ จะต้องมีความมุ่งมั่น ตั้งใจจริง มีสมาธิในการปฏิบัติงาน ทำให้เกิดการเรียนรู้ในการแสดงออก และเกิดจินตนาการ
ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และการสัมผัสด้วยกาย เพื่อให้มีความไว และความละเอียด แล้วนำมาใช้ในการแสดงได้เป็นอย่างดี ดังนี้
การได้เห็น เกิดจากการใช้ประสาทสัมผัสทาง ตา ซึ่งผู้แสดงจะต้องพัฒนาการรับรู้ทางตา เพื่อให้ไวต่อการสร้างสรรค์ผลงานโดยผู้แสดงจะต้องสังเกต และมองสิ่งรอบ ๆ ตัว เพื่อแก้ไขสถานการณ์ที่เกิดปัญหาในขณะกำลังแสดงอยู่
การได้ยิน เกิดจากการใช้ประสาทสัมผัสทาง หู ผู้แสดงจะต้องพัฒนาการรับรู้ทางการฟัง เพราะอาจต้องใช้ในการแสดงบางประเทที่มีการบอกบทในขณะแสดง ระบบการได้ยินจึงต้องมีประสิทธิภาพ เพื่อสามารถนำไปใช้ในการแสดงเป็นไปตามที่กำหนดไว้ และสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี
การได้กลิ่น เกิดจากการใช้ประสาทสัมผัสทาง จมูก ผู้แสดงจะต้องมีความไวต่อการได้กลิ่น และสามารถบอกได้ว่าเป็นกลิ่นอะไรแสดงสีหน้าท่าทางอย่างไรเมื่อได้กลิ่นนั้น ๆ
การได้ลิ้มรส เกิดจากการใช้ประสาทสัมผัสทาง ลิ้น ผู้แสดงจะต้องพัฒนาการรับรู้ทางการชิมรส ต้องรับรู้รสต่าง ๆ ได้แม่นยำและสามารถแสดงสีหน้าท่าทางเมื่อได้รับรู้รสนั้น ๆ
การได้สัมผัส เกิดจากการใช้ประสาทสัมผัสทาง มือ หรือ ผิวหนังส่วนอื่น ผู้แสดงจะต้องมีความรู้สึกไวต่อสิ่งของที่ได้สัมผัสแต่ละชนิดว่ามีลักษณะอย่างไร เช่น ผิวหยาบ ผิวนุ่ม ผิวแข็ง และเมื่อได้สัมผัสสิ่งนั้น ๆ มีท่าทางความรู้สึกอย่างไร
การพัฒนาประสาทสัมผัสทั้ง 5 อยู่เสมอ จะทำให้ผู้แสดงมีความรู้และการรับรู้ฉับไวในการแสดงแต่ละอย่าง และสามารถสร้างสรรค์งานละครได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
กิจกรรมที่นำมาฝึกประสาทสัมผัสทั้ง 5 มีหลายกิจกรรม เช่น
1. ฝึกการมอง ให้นักแสดงฝึกมองสิ่งต่าง ๆ โดยให้ดูลักษณะภายนอกที่มองเห็นว่าเป็นสิ่งใด แล้วฝึกการแสดงออกโดยใช้สายตา เพื่อสื่อความหมายให้ผู้ชมเข้าใจ เช่น เห็นสัตว์ดุร้าย ทำตาโตแบบตกใจเห็นแสงสว่างมาก หรี่ตาและใช้มือบังตา เป็นต้น
2. ฝึกการฟังเสียง ให้นักแสดงทายเสียงดนตรี หรือเสียงสัตว์ต่าง ๆ โดยไม่ให้เห็นที่มาของเสียง จากนั้นจึงแสดงท่าทางประกอบ โดยให้สอดคล้องกับเสียงที่ได้ยิน เช่น ได้ยินเสียงดังให้เอามือปิดหู ได้ยินเสียงกระซิบให้เอามือป้องหู เป็นต้น
3. ฝึกการดมกลิ่น ให้นักแสดงหลับตาและดมกลิ่น แล้วทายว่าสิ่งนั้นเป็นอะไร เช่น ดอกไม้ ผลไม้ ผัก เป็นต้น จากนั้นฝึกแสดงท่าทางประกอบให้สอดคล้องกับกลิ่นที่ได้สัมผัส เช่น ได้ดมกลิ่นเหม็นให้เอามือปิดจมูก ได้ดมกลิ่นหอมให้ทำท่าสูดกลิ่นอย่างแรง เป็นต้น
4. ฝึกการชิมรส ให้นักแสดงหลับตาทายอาหารที่ชิมหลาย ๆ ชนิดว่าเป็นอาหารประเภทไหน ชื่ออะไร เช่น ข้าวผัด ก๋วยเตี๋ยว เป็นต้น จากนั้นจึงฝึกแสดงท่าทางประกอบให้สัมพันธ์กับการรับรู้รสนั้น ๆ เช่น ได้รับรู้รสเผ็ดให้แสดงอาการซู้ดปาก และเอามือพัดปากได้รับรู้รสขมให้ทำหน้าตาบูดเบี้ยว เป็นต้น
5. ฝึกการสัมผัส ให้นักแสดงหลับตาแล้วคลำสิ่งของต่าง ๆ โดยใช้การสัมผัส เช่น ใช้มือคลำสิ่งของต่าง ๆ แล้วทายว่าเป็นอะไร จากนั้นฝึกแสดงท่าทางประกอบ โดยให้สอดคล้องกับสิ่งที่ได้สัมผัส เช่น ได้สัมผัสกับขนปุยของลูกสุนัขให้แสดงท่าทางเอามือลูบไล้เบา ๆ ได้สัมผัสหนามแหลมคมให้กระตุกมือขึ้น เป็นต้น
การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
การพัฒนาประสาทสัมผัสทั้ง 5
การแสดงละครสร้างสรรค์เป็นการแดสงที่ต้องเน้นการเคลื่อนไหวร่างกาย โดยการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 เพื่อสื่อความหมายให้ผู้อื่นได้รับรู้ ดังนี้ การฝึกปฏิบัติในการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ให้เกิดความชำนาญ จะต้องมีความมุ่งมั่น ตั้งใจจริง มีสมาธิในการปฏิบัติงาน ทำให้เกิดการเรียนรู้ในการแสดงออก และเกิดจินตนาการ
ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และการสัมผัสด้วยกาย เพื่อให้มีความไว และความละเอียด แล้วนำมาใช้ในการแสดงได้เป็นอย่างดี ดังนี้
การได้เห็น เกิดจากการใช้ประสาทสัมผัสทาง ตา ซึ่งผู้แสดงจะต้องพัฒนาการรับรู้ทางตา เพื่อให้ไวต่อการสร้างสรรค์ผลงานโดยผู้แสดงจะต้องสังเกต และมองสิ่งรอบ ๆ ตัว เพื่อแก้ไขสถานการณ์ที่เกิดปัญหาในขณะกำลังแสดงอยู่
การได้ยิน เกิดจากการใช้ประสาทสัมผัสทาง หู ผู้แสดงจะต้องพัฒนาการรับรู้ทางการฟัง เพราะอาจต้องใช้ในการแสดงบางประเทที่มีการบอกบทในขณะแสดง ระบบการได้ยินจึงต้องมีประสิทธิภาพ เพื่อสามารถนำไปใช้ในการแสดงเป็นไปตามที่กำหนดไว้ และสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี
การได้กลิ่น เกิดจากการใช้ประสาทสัมผัสทาง จมูก ผู้แสดงจะต้องมีความไวต่อการได้กลิ่น และสามารถบอกได้ว่าเป็นกลิ่นอะไรแสดงสีหน้าท่าทางอย่างไรเมื่อได้กลิ่นนั้น ๆ
การได้ลิ้มรส เกิดจากการใช้ประสาทสัมผัสทาง ลิ้น ผู้แสดงจะต้องพัฒนาการรับรู้ทางการชิมรส ต้องรับรู้รสต่าง ๆ ได้แม่นยำและสามารถแสดงสีหน้าท่าทางเมื่อได้รับรู้รสนั้น ๆ
การได้สัมผัส เกิดจากการใช้ประสาทสัมผัสทาง มือ หรือ ผิวหนังส่วนอื่น ผู้แสดงจะต้องมีความรู้สึกไวต่อสิ่งของที่ได้สัมผัสแต่ละชนิดว่ามีลักษณะอย่างไร เช่น ผิวหยาบ ผิวนุ่ม ผิวแข็ง และเมื่อได้สัมผัสสิ่งนั้น ๆ มีท่าทางความรู้สึกอย่างไร
การพัฒนาประสาทสัมผัสทั้ง 5 อยู่เสมอ จะทำให้ผู้แสดงมีความรู้และการรับรู้ฉับไวในการแสดงแต่ละอย่าง และสามารถสร้างสรรค์งานละครได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
กิจกรรมที่นำมาฝึกประสาทสัมผัสทั้ง 5 มีหลายกิจกรรม เช่น
1. ฝึกการมอง ให้นักแสดงฝึกมองสิ่งต่าง ๆ โดยให้ดูลักษณะภายนอกที่มองเห็นว่าเป็นสิ่งใด แล้วฝึกการแสดงออกโดยใช้สายตา เพื่อสื่อความหมายให้ผู้ชมเข้าใจ เช่น เห็นสัตว์ดุร้าย ทำตาโตแบบตกใจเห็นแสงสว่างมาก หรี่ตาและใช้มือบังตา เป็นต้น
2. ฝึกการฟังเสียง ให้นักแสดงทายเสียงดนตรี หรือเสียงสัตว์ต่าง ๆ โดยไม่ให้เห็นที่มาของเสียง จากนั้นจึงแสดงท่าทางประกอบ โดยให้สอดคล้องกับเสียงที่ได้ยิน เช่น ได้ยินเสียงดังให้เอามือปิดหู ได้ยินเสียงกระซิบให้เอามือป้องหู เป็นต้น
3. ฝึกการดมกลิ่น ให้นักแสดงหลับตาและดมกลิ่น แล้วทายว่าสิ่งนั้นเป็นอะไร เช่น ดอกไม้ ผลไม้ ผัก เป็นต้น จากนั้นฝึกแสดงท่าทางประกอบให้สอดคล้องกับกลิ่นที่ได้สัมผัส เช่น ได้ดมกลิ่นเหม็นให้เอามือปิดจมูก ได้ดมกลิ่นหอมให้ทำท่าสูดกลิ่นอย่างแรง เป็นต้น
4. ฝึกการชิมรส ให้นักแสดงหลับตาทายอาหารที่ชิมหลาย ๆ ชนิดว่าเป็นอาหารประเภทไหน ชื่ออะไร เช่น ข้าวผัด ก๋วยเตี๋ยว เป็นต้น จากนั้นจึงฝึกแสดงท่าทางประกอบให้สัมพันธ์กับการรับรู้รสนั้น ๆ เช่น ได้รับรู้รสเผ็ดให้แสดงอาการซู้ดปาก และเอามือพัดปากได้รับรู้รสขมให้ทำหน้าตาบูดเบี้ยว เป็นต้น
5. ฝึกการสัมผัส ให้นักแสดงหลับตาแล้วคลำสิ่งของต่าง ๆ โดยใช้การสัมผัส เช่น ใช้มือคลำสิ่งของต่าง ๆ แล้วทายว่าเป็นอะไร จากนั้นฝึกแสดงท่าทางประกอบ โดยให้สอดคล้องกับสิ่งที่ได้สัมผัส เช่น ได้สัมผัสกับขนปุยของลูกสุนัขให้แสดงท่าทางเอามือลูบไล้เบา ๆ ได้สัมผัสหนามแหลมคมให้กระตุกมือขึ้น เป็นต้น
การเล่นในมุม : ทักษะด้านต่างๆของแต่ละมุม
ในการจัดกิจกรรมเสรีที่โรงเรียน ครูจะจัดศูนย์การเรียนไว้ในห้องเรียนให้เด็กเลือกเล่นตามความสนใจ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
- มุมศิลปะ เด็กอาจเล่นปั้นดินเหนียวหรือปั้นแป้งที่ผสมน้ำแล้ว ดินเหนียวหรือแป้งนั้นจะเป็นรูปร่างกลม รูปแบน รูปเหลี่ยม หรืออื่นๆ ได้ตามที่เด็กทำขึ้น แต่หากนำทรายร่วนหรือ แป้งร่วนมาปั้น ก็ไม่สามารถปั้นเป็นรูปร่างได้ การเล่นจึงเป็นประโยชนต่อเด็ก ขณะเด็กเล่นเด็กได้สังเกตจากการสัมผัสวัตถุ ประสาทสัมผัสของเด็กได้ทำงาน ดังการปั้นแป้งหรือดินเหนียวที่กล่าวมานั้น มือเด็กสัมผัสแป้ง เด็กรับรู้ความชื้นของแป้ง จมูกได้กลิ่นแป้งดิบ ตาได้เห็นสี รูปร่างของแป้งที่ปั้นเป็นรูปร่างต่างๆ เด็กจึงรับรู้ผ่านประสาทสัมผัสตา หู ผิวหนัง จมูก เป็นผลให้เกิดการสร้างปัญญาและความคิดของเด็กงอกงาม ทั้งนี้เพราะเกิดการสร้างกระบวนการทางสมองในการคิดเพื่อการเรียนรู้ การรับรู้ด้วยการสัมผัส การเพิ่มพูนความรู้ของเด็กเกิดการสัมผัสของเล่นและบุคคล
- มุมเกมการศึกษา เด็กได้รู้จักการจัดพวก การลำดับ การสังเกต จำแนก ทำนาย สรุปภาพการเปรียบ หาเหตุผลที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นเหตุของการเกิดปัญญาและความสามารถทางวิชาการ เด็กจะเล่นผ่านการใช้ร่างกาย (Sensory motor) หรืออีกนัยหนึ่งคือการเล่นสำรวจ (Exploratory Play) คือ มีความสนใจ สงสัย กระตือรือร้นในสิ่งต่างๆ รอบตัว บางครั้งเด็กเล่นเลียบแบบ เพราะเด็กสังเกต เป็นความสามารถของเด็กที่เกิดขึ้นได้ตลอดเวลา เป็นการกระทำที่เคลื่อนไหว มีอิริยาบถ มีการใช้ประสาทสัมผัสรับรู้ มีการทวนซ้ำ จะนำเด็กไปสู่การค้นพบ การแก้ปัญหา การเล่นสร้างบางสิ่งบางอย่างขึ้นมาเพราะเด็กเริ่มรู้คุณสมบัติของวัตถุบางชนิดแล้ว การเล่นสร้างสิ่งต่างๆนี้ผู้เล่นจะสร้างความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมลักษณะต่างๆ โดยเด็กจะนำเอาประสบการณ์ต่างๆ ของตนเข้ามารวมกันทั้งอารมณ์ ความคิด เหตุผล จะสามารถแยกสิ่งแวดล้อมต่างๆ ออกได้ว่าแตกต่างกันหรือเหมือนกันอย่างไร แล้วนำมาหาความสัมพันธ์กัน
- มุมบทบาทสมมุติ เป็นการเล่นลักษณะจินตนาการ ใช้สิ่งของแทนของเล่นและแทนสิ่งต่างๆ เช่น ใช้ม้านั่งสองขาแทนน้องเล็กๆ ใช้ใบไม้แทนมงกุฎนางฟ้า เป็นต้น ขณะเล่นเด็กจะเปลี่ยนของเล่นสมมุติเป็นสิ่งนั้น สิ่งนี้ เด็กอาจจะเอาท่อนไม้แทนบ้าน แล้วเติมสิ่งของหรือนำออก บ้านก็จะเปลี่ยนเป็นร้านค้าก็ได้โดยใช้คำพูดถ่ายทอดการเล่นออกมาแทน ทั้งนี้เพราะเด็กสามารถมองเห็นเรื่องราวทั้งหมดที่อยู่ในใจหรือในจินตนาการของตนเอง การเล่นลักษณะเช่นนี้เราจะเห็นได้ชัดเจนและบ่อยๆ เด็กจะแสดงออกถึงการกระทำหรือเหตุการณ์ขณะเล่นด้วยการเล่นไปพูดไป (Verbal Play) เด็กจะพูดเกี่ยวกับโลกของตน คำพูดอาจจะนำมาจากนิทานที่อ่านหรือฟังมา เช่น เล่นเป็นครู เล่นเป็นพ่อเป็นแม่ เด็กจะเริ่มเล่นกับเพื่อน มีเพื่อนมาเล่นจินตนาการร่วมกัน แต่จะเล่นสมมุติเป็นตัวละครที่แต่ละคนจินตนาการ แสดงถึงเด็กต้องการสังคมในการเล่นการเล่นสมมุติจะเป็นการสร้างโอกาสให้เด็กก้าวไปสู่การพัฒนาการที่สูงกว่า การเล่นสมมุติจะมีผลต่อพัฒนาการด้านสติปัญญา ทางภาษา พัฒนาการด้านอารมณ์ และพัฒนาการด้านสังคมเป็นต้น
- มุมบล็อก เด็กเล่นสร้างก้อนไม้หรือไม้บล็อก นำมาต่อกันตามจินตนาการเป็นรูปทรงต่างๆ อย่างอิสระ
นอกจากนี้กิจกรรมเสรีอาจจัดนอกห้องเรียน ได้แก่ การเล่นน้ำ เล่นทราย จากบ่อน้ำ บ่อทราย ที่จัดขึ้นพร้อมจัดหาวัสดุของเล่นจากร้านค้าและวัสดุเหลือใช้นำมาประดิษฐ์ขึ้นคล้ายของจริง เช่น นำขวดน้ำพลาสติกมาตัดครึ่งเฉียงออกเป็นสองชิ้นใช้แทนเสียมตักดิน และกรวยกรอกน้ำ เป็นสิ่งที่เด็กชอบเล่นมาก ใช้ตักดิน กรอกน้ำเล่นที่มุมน้ำ มุมทรายที่จัดไว้นอกห้องเรียนเพราะเล่นเลอะเทอะเปรอะเปื้อนได้ ทำความสะอาดง่าย และสะดวก
การปลูกพืช :
การปลูกโดยอาศัยส่วนต่าง ๆ ของต้นพืช ประกอบด้วย ราก ลำต้น ใบ โดยการปักชำ การตอนกิ่ง การโน้มกิ่ง การแยกหน่อหรือหัว โดยวิธีการต่าง ๆ
บ้างครั้งพืชบางชนิดต้องน้ำและบางชนิดไม่ต้องการน้ำ เป็นการฝึกประสบการณ์แก่เด็ก
วิทยาศาสตร์
-คือ ความพยายามของมนุษย์ที่จะเรียนรู้และทำความเข้าใจกับสิ่งรอบตัวและตัวตนของตนเอง การเรียนรู้ การเปลี่ยนแปลง
-คือ ความพยายาม เช่นนี้ ติดตัวของมนุษย์มาตั้งแต่แรกเกิด ซึ่งสะท้อนให้เห็นจากธรรมชาติของเด็กที่มีความอยากรู้อยากเห็นช่างสังเกตและคอยซักถามเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่พวกเขาเจอและบางครั้งก็เป็นคำถามที่ยากกว่าผู้ใหญ่จะให้คำตอบ
-การทำความเข้าใจกับสิ่งรอบตัวและตัวตนของตนเอง โดยการสังเกตและคอยซักถามเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่พวกเขาเจอช่วยเชื่อมโยงเซลล์ของสมองของเด็กโดยเฉพาะเด็กเล็กๆเพราะส่งเสริมให้เด็กได้คิด เป็นการเตรียมเด็กให้สามารถเรียนรู้ได้มากขึ้นในวันที่สูงขึ้น
ทำไมต้องเรียนรู้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เพื่อเอาตัวรอดให้อยู่บนโลกได้
พัฒนาการแรก-2 ปี
วัยทารกเป็นวัยที่เด็กมีพัฒนาการในทุกๆ ด้านอย่างรวดเร็ว ดังจะเห็นได้ชัดว่าเด็กอายุ 2 ขวบ จะมีพัฒนาการก้าวหน้าอย่างเห็นได้ชัดทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญหา ถ้าเทียบกับเด็กแรกเกิด เพราะฉะนั้นในช่วงสองปีแรกของชีวิต พัฒนาการด้านต่างๆ จะเป็นไปด้วยความรวดเร็ว จากการศึกษาพัฒนาการทางด้านร่างกาย พบว่าเมื่อสิ้นสุดขวบแรกเด็กจะเพิ่มความสูงเป็น 1/3 เท่าของแรกเกิด และมีน้ำหนักเพิ่มขึ้น 3 เท่า ลอรี่ (Lowery, 1973) กล่าวว่า การเจริญเติบโตในช่วงแรกรวดเร็วมาก พัฒนาการที่รวดเร็วจะเห็นได้จากการเพิ่มน้ำหนักและส่วนสูง และมีความสามารถใหม่เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด เช่น มีความสามารถทางภาษา การรับรู้ การจำ การเลียนแบบตลอดจนความสามารถในการเข้าใจสภาพแวดล้อมรอบตัว และเนื่องจากวัยทารกมีพัฒนาการที่รวดเร็วในทุกๆ ด้าน
วัยทารกเป็นวัยที่เด็กมีพัฒนาการในทุกๆ ด้านอย่างรวดเร็ว ดังจะเห็นได้ชัดว่าเด็กอายุ 2 ขวบ จะมีพัฒนาการก้าวหน้าอย่างเห็นได้ชัดทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญหา ถ้าเทียบกับเด็กแรกเกิด เพราะฉะนั้นในช่วงสองปีแรกของชีวิต พัฒนาการด้านต่างๆ จะเป็นไปด้วยความรวดเร็ว จากการศึกษาพัฒนาการทางด้านร่างกาย พบว่าเมื่อสิ้นสุดขวบแรกเด็กจะเพิ่มความสูงเป็น 1/3 เท่าของแรกเกิด และมีน้ำหนักเพิ่มขึ้น 3 เท่า ลอรี่ (Lowery, 1973) กล่าวว่า การเจริญเติบโตในช่วงแรกรวดเร็วมาก พัฒนาการที่รวดเร็วจะเห็นได้จากการเพิ่มน้ำหนักและส่วนสูง และมีความสามารถใหม่เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด เช่น มีความสามารถทางภาษา การรับรู้ การจำ การเลียนแบบตลอดจนความสามารถในการเข้าใจสภาพแวดล้อมรอบตัว และเนื่องจากวัยทารกมีพัฒนาการที่รวดเร็วในทุกๆ ด้าน
พัฒนาการทางสติปัญญา 2-6 ปี
พัฒนาการของเด็ก 2-3 ขวบ
กล้ามเนื้อใหญ่ ยืนบนขาข้างเดียวได้ 2 วินาที วิ่งได้ดีแต่ไม่สามารถเริ่มหรือหยุดได้ทันที กระโดดขึ้นสองขาพร้อมกันและกระโดดลงจากเก้าอี้ได้ กระโดดข้ามเชือกที่กั้นสูงจากพื้น 8 นิ้ว เคลื่อนไหวนิ้วมือแต่ละนิ้วได้โดยอิสระ
กล้ามเนื้อเล็ก มือและนิ้วมือทำงานประสานกันได้ดี ต่อแท่งบล็อกได้สูง 8 ชั้น เคลื่อนไหวนิ้วมือแต่ละนิ้วได้โดยอิสระ
ภาษา พูดและรู้คำศัพท์เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว รู้คำใหม่ ๆ ประมาณ 50 คำ / เดือน ใช้ประโยคที่มี 4 คำได้ บอกชื่อจริงและนามสกุลได้ ชอบดูหนังสือภาพ ชอบผังบทกลอน
สติปัญญา อยากจะเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ โดยการตั้งคำถามบ่อย ๆ รู้จักสีหลายสี เริ่มมีสมาธิ ตั้งอกตั้งใจเป็น สนใจค้นหาสำรวจสิ่งต่าง ๆ
สังคม ชอบช่วยพ่อแม่ทำงานบ้าน ชอบออกคำสั่ง แยกระหว่าง “คุณพ่อ” กับ “คุณแม่” ได้ บางครั้งก็ยังใช้ภาษา คำพูด และท่าทางแบบเด็กทารก
จิตใจและอารมณ์ อารมณ์ขึ้น ๆ ลง ๆ ไม่ยอมยืดหยุ่น ต้องเอาให้ได้อย่างใจต้องการ รู้ถึงเพศของตน เริ่มสนใจความแตกต่างทางร่างกายระหว่างหญิงและชาย
การเล่น เริ่มสนใจการเล่นรวมกับเด็กอื่น ชอบเล่นโทรศัพท์ของจริง แต่ยังพูดประโยคยาว ๆ ไม่ได้ เริ่มเล่นแบบจินตนาการและสมมติ ต่อภาพจิ๊กซอว์ที่มีชิ้นส่วน 6-12 ชิ้นได้ชอบละเลงสีด้วยนิ้วมือ และกดดินน้ำมันด้วยแป้นพิมพ์
พัฒนาการเฉพาะวัย ส่วนใหญ่จะควบคุมการขับถ่ายได้ในตอนกลางวัน ตักอาหาร ดื่มน้ำจากแก้วได้หกเล็กน้อย ให้ความร่วมมือในการแต่ง
สังคม ชอบช่วยพ่อแม่ทำงานบ้าน ชอบออกคำสั่ง แยกระหว่าง “คุณพ่อ” กับ “คุณแม่” ได้ บางครั้งก็ยังใช้ภาษา คำพูด และท่าทางแบบเด็กทารก
จิตใจและอารมณ์ อารมณ์ขึ้น ๆ ลง ๆ ไม่ยอมยืดหยุ่น ต้องเอาให้ได้อย่างใจต้องการ รู้ถึงเพศของตน เริ่มสนใจความแตกต่างทางร่างกายระหว่างหญิงและชาย
การเล่น เริ่มสนใจการเล่นรวมกับเด็กอื่น ชอบเล่นโทรศัพท์ของจริง แต่ยังพูดประโยคยาว ๆ ไม่ได้ เริ่มเล่นแบบจินตนาการและสมมติ ต่อภาพจิ๊กซอว์ที่มีชิ้นส่วน 6-12 ชิ้นได้ชอบละเลงสีด้วยนิ้วมือ และกดดินน้ำมันด้วยแป้นพิมพ์
พัฒนาการเฉพาะวัย ส่วนใหญ่จะควบคุมการขับถ่ายได้ในตอนกลางวัน ตักอาหาร ดื่มน้ำจากแก้วได้หกเล็กน้อย ให้ความร่วมมือในการแต่ง
พัฒนาการของเด็ก 3-4 ขวบ
กล้ามเนื้อใหญ่ วิ่งได้ดี เดินเขย่งปลายเท้าได้ไกล 10 ฟุต เดินทรงตัวบนไม้กระดานได้ โยนและรับลูกบอลได้ดี กระโดดได้สูง กระโดดสองขาและกระโดขาเดียวได้ 2-3 ก้าว ถีบจักรยานได้คล่อง หลบหลีกสิ่งกีดขวางได้ดี
กล้ามเนื้อเล็ก ลากเส้นวาดรูปได้แล้ว ชอบกระพริบตาเพราะมีการปรับระบบประสาทตา ใช้กรรไกรตัดกระดาษได้ดี จับดินสอได้ดี
ภาษา พูดประโยคยาว ๆ ได้มากขึ้น เป็นประโยคที่ใช้คำ 4-5 คำ รู้จักเรียงประโยคได้ถูกต้อง มักจะใช้คำ “สมมติว่า…” ชอบทำเสียงแปลก ๆ
สติปัญญา บอกรูปร่างและขนาดได้ จับคู่สิ่งของได้ถูกต้อง บอกเล่าเรื่องราวในอดีตได้ เข้าใจคำว่า “ที่สุด” ได้
สังคม เลือกพูดชักชวนหรือกีดกันเพื่อนให้เล่นด้วยกัน เล่นกับเพศตรงข้ามได้ไม่นาน แสดงความรักชอบพอกับผู้ใหญ่และเพื่อน ๆ
อารมณ์และจิตใจ ควบคุมอารมณ์ได้ดีขึ้น แข่งขัน แย่งชิงความรักความสนใจจากพ่อแม่
การเล่น ชอบเล่นปีนป่ายชอบเล่นไม้ลื่น ชอบเล่นสมมติ และยังแยกแยะไม่ออกระหว่างความฝันกับความเป็นจริง ชอบวาดรูประบายสีด้วยพู่กันอันใหญ่ ๆ และเรียกชื่อภาพวาดนั้นได้ ชอบเล่นดินน้ำมัน
พัฒนาการเฉพาะวัย กระตือรือร้นช่วยทำงานบ้าน แต่งตัวง่าย ๆ ได้เอง รินน้ำจากเหยือกเล็ก ๆ ได้เอง ฝันร้ายบ่อยๆ ไปห้องน้ำได้เอง
กล้ามเนื้อเล็ก ลากเส้นวาดรูปได้แล้ว ชอบกระพริบตาเพราะมีการปรับระบบประสาทตา ใช้กรรไกรตัดกระดาษได้ดี จับดินสอได้ดี
ภาษา พูดประโยคยาว ๆ ได้มากขึ้น เป็นประโยคที่ใช้คำ 4-5 คำ รู้จักเรียงประโยคได้ถูกต้อง มักจะใช้คำ “สมมติว่า…” ชอบทำเสียงแปลก ๆ
สติปัญญา บอกรูปร่างและขนาดได้ จับคู่สิ่งของได้ถูกต้อง บอกเล่าเรื่องราวในอดีตได้ เข้าใจคำว่า “ที่สุด” ได้
สังคม เลือกพูดชักชวนหรือกีดกันเพื่อนให้เล่นด้วยกัน เล่นกับเพศตรงข้ามได้ไม่นาน แสดงความรักชอบพอกับผู้ใหญ่และเพื่อน ๆ
อารมณ์และจิตใจ ควบคุมอารมณ์ได้ดีขึ้น แข่งขัน แย่งชิงความรักความสนใจจากพ่อแม่
การเล่น ชอบเล่นปีนป่ายชอบเล่นไม้ลื่น ชอบเล่นสมมติ และยังแยกแยะไม่ออกระหว่างความฝันกับความเป็นจริง ชอบวาดรูประบายสีด้วยพู่กันอันใหญ่ ๆ และเรียกชื่อภาพวาดนั้นได้ ชอบเล่นดินน้ำมัน
พัฒนาการเฉพาะวัย กระตือรือร้นช่วยทำงานบ้าน แต่งตัวง่าย ๆ ได้เอง รินน้ำจากเหยือกเล็ก ๆ ได้เอง ฝันร้ายบ่อยๆ ไปห้องน้ำได้เอง
พัฒนาการของเด็ก 4-5 ขวบ
พัฒนาการเฉพาะวัย
พัฒนาการเฉพาะวัย
ล้างมือล้างหน้า แปรงฟันได้เอง แต่อาจมีผู้ใหญ่ช่วยดูแลบ้าง สนใจห้องน้ำ และกิจกรรมในห้องน้ำของคนอื่น ต้องการความเป็นส่วนตัว ส่วนใหญ่จะไม่ฉี่เปียกเสื้อผ้าในเวลากลางวัน แต่บางครั้งก็กลั้นไม่อยู่ หรือบอกไม่ได้ ส่วนใหญ่จะไม่ฉี่รดที่นอน จะขับถ่ายหลังอาหารเช้า หรืออาหารกลางวัน ทานอาหารได้ดีขึ้น ใส่และถอดเสื้อผ้าได้เอง บางคนผูกเชือกรองเท้าได้
พัฒนาการด้านการเล่น
ชอบเล่นนอกบ้าน ชอบเล่นน้ำทราย ชอบสร้าง ต่อเติม ต่อบล็อก ภาพต่อ ฯลฯ ชอบใส่เสื้อผ้าผู้ใหญ่และเล่นบทบาทสมมติ ชอบระบายสีด้วยนิ้วมือ ปั้นดินเหนียว ชอบเล่นบ้านและตุ๊กตา
อารมณ์และจิตใจ
อารมณ์และจิตใจ
พัฒนาการของเด็ก 5-6 ขวบ
พัฒนาการเฉพาะวัย
จะปวดท้องเวลาไปโรงเรียนเพราะต้องปรับตัวเอง หรือเมื่อเจอกับอาหารที่ไม่ชอบ อาบน้ำเองได้ดีกว่าเดิม ไปห้องน้ำได้เอง สนใจเป็นพิเศษในการทำความสะอาด ส่วนหน้า คอและผม บอกได้ว่า ชอบ หรือ ไม่ชอบ กินอะไร กินอาหารได้เอง ยุ่งยากแลอะเทอะน้อยลง ชำนาญการใช้ช้อนส้อม จัดการเรื่องแต่งตัวได้เอง เช่น ติดกระดุมเม็ดโต ฯลฯ ยังมีปัญหาเกี่ยวกับกระดุมเม็ดเล็ก ๆ ยังผูกเชือกรองเท้าหรือผูกโบว์ไม่ได้ ชอบทำกิจวัตรประจำวันตามลำพังตัวเขาเอง มักจะฝันร้าย หรือกลัวตอนกลางคืน เช่น สัตว์ร้าย สัตว์ประหลาด ฯลฯ
การเล่น
มีจินตนาการและการคิดค้นที่สูงส่งมากขึ้น ชำนาญในการเล่นต่อบล็อก คิดได้ล่วงหน้าว่าอยากต่อเป็นอะไร เล่นคนเดียวหรือเล่นกับกลุ่มเพื่อน 1-3 คนได้ ต่อภาพจิ๊กซอขนาด 26 ชิ้นได้สำเร็จ เริ่มสนใจเรื่องราวและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน มากกว่านิทานสำหรับเด็ก หรือเรื่องที่เคยชอบ ใช้ความคิดในการเลือกสรรหาเศษวัสดุมาทำสิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ ให้เข้ากันได้
สติปัญญา
สติปัญญา
-อารมณ์/จิตใจ
ถ้าผู้ใหญ่ไม่เข้าใจในธรรมชาติของเด็ก
ปิดกั้นโอกาสทางการเรียนรู้ของพวกเขาโดยการไม่ให้ความสนใจกับคำถาม
-ผู้ใหญ่เปิดโอกาสการเรียนรู้กับเด็ก
ไม่ให้ความสนใจกับการค้นพบแบบเด็ก
-ผู้ใหญ่ให้ความสนใจการค้นพบของเด็ก เข้าใจธรรมชาติ
-ผู้ใหญ่ให้ความสนใจการค้นพบของเด็ก เข้าใจธรรมชาติ
ไม่จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่จะส่งเสริมและต่อยอดทักษะและแนวคิดที่ถูกต้องให้กับเด็กอย่างเหมาะสม
-จัด เพราะการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่จะส่งเสริมต่อยอดทักษะได้ถูกต้อง
-จัด เพราะการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่จะส่งเสริมต่อยอดทักษะได้ถูกต้อง
ทบทวนบทบาท
-เปิดโอกาสทางการเรียนรู้ของพวกเขาโดยการให้ความสนใจกับคำถาม
-ให้ความสนใจกับการค้นพบแบบเด็กๆ
-จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่จะส่งเสริมและต่อยอดทักษะแนวคิดที่ถูกต้องให้กับเด็กอย่างเหมาะสม
-ครูและผู้ปกครองต้องยอมรับในเรื่องจินตนาการที่มีอยู่สูงในเด็กวันนี้
-ครูต้องแม่นยำในพัฒนาของเด็ก เพื่อที่จะสามารถจัดการเรียนรู้ได้
สอดคล้องกับความสามารถของเด็ก
Applications:นำแนวการสอนของอาจารย์ในวันนี้ไปศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม และนำไปจะจัดประการณ์ กิจกรรมให้เด็กๆได้เกิดการเรียนรู้และเข้าใจสิ่งรอบตัว
Evaluation:
ประเมินตนเอง
-แต่งกายเรียบร้อยถูกระเบียบ
-ตั้งใจฟังอาจารย์อธิบายแนวการสอน
ประเมินเพื่อน
-แต่งกายเรียบร้อย
-อารมณ์ดี สดใส
-ตั้งใจฟังอาจารย์ให้ความรู้
ประเมินอาจารย์:แนะนำเทคนิคในแนวการสอนเพื่อปรับใช้ได้จริง
Learn more:
-วิทยาศาสตร์เกิดขึ้นในชีวิตประจำ
-วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษา เป็นเครื่องมือที่สำคัญในการเรียนรู้เรื่องต่างๆ
-เด็กปฐมวัย/ทำไมต้องให้เด็กเรียนรู้สิ่งที่อยู่ใกล้ตัว
สิ่งที่ใกล้ตัว,เด็กสนใจ
-วิทยาศาสตร์ทำให้เด็กอยากรู้ อยากลองจึงทำให้เด็กสนุน
-พัฒนาการ เด็กสามารถทำอะไรได้บ้างในระดับอายุ
ช่วงที่ครูให้ถามคุณอาจนำที่คุณบันทึกถามครูเพื่อตรวจสอบความเข้าใจนะคะ
ตอบลบ